วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556


สรุปงานวิจัย


วิจัยเรื่อง...การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ

ปริญญานิพนธ
ของ
เอราวรรณ ศรีจักร


1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย - หญิง ที่มีอายุระหวาง 4 - 5 ปซึ่งกําลัง
ศึกษาอยูระดับอุบาลศึกษา

2. การพัฒนา หมายถึง ผลลับของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ไดรับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
วิทยาศาสตรสาหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งประเมินโดยแบบประเมินที่ผูวิจัยสร็างขึ้น

3. ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหมายถึง ความสามารถของ
เด็กปฐมวัยในการใช้ความคิดคนหาความรู้เพื่อหาคําตอบที่เป็นองค ความรู้ได้ในการวิจัยนี้
จําแนกเปน 4 ดาน ดังนี้
    3.1 การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยางรวมกัน ไดแก หู ตา จมูก ลิ้น และผิวกาย เขาไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือ
เหตุการณแล้วเด็กสามารถบอกลักษณะหรือความแตกตางของสิ่งนั้นได
    3.2 การจําแนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการแบงประเภทสงของโดยม
เกณฑที่ใชในการจำแนกประเภทอยางใดอยางหนึ่งไดแก ความเหมือน ความแตกตางและ
ความสัมพันธ
    3.3 การสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการบอกขอความหรือเลาใหฟงถึงสิ่งที่
คนพบจากการสังเกต การทดลองเพื่อใหผูอื่นเขาใจไดถูกตอง
    3.4 การลงความเห็น หมายถึง ความสามารถในการอธบายหรือสรุปความเห็นสิ่ง
ที่คนพบหรืออธิบายสิ่งที่เกดขึ้นตามมาหรือที่ไดจากประสบการณการเรียนรูรวมกับการใช้เหตุผล

4. กิจกรรมการเรียนรูหมายถึงงานการเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น
เพื่อใหเด็กไดปฏิบัติการการเรียนรโดยจัดลําดับสาระตามชุดแบบฝกทักษะวิทยาศาสตรของ
รศ.ดร.กุลยา ตันติผลาชีวะ ที่นํามาใชประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนใหเด็กไดลงมือ
กระทําไดรับประโยชนจริง ดังนี้6
ขั้นนํา เปนขั้นการเตรียมเด็กเขาสูกิจกรรมการเรียนรูประกอบดวยกิจกรรมอยาง
ใดอยางหนึ่งที่มีเนื้อหาสอดคลองกับเรื่องที่จะเรียน
ขั้นสอน แบงออกเปน 2 ตอน
ตอนที่ 1 จัดกิจกรรมใหเด็กมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับมโนทัศนของเรื่องที่เรียน และ
ตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝกทักษะตามมโนทัศนของเรื่องที่เรียน
ขั้นสรุป เด็กรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรที่เด็กได้รับ
จากการเรียนเรื่องนั้นๆ

5. ชุดแบบฝึกทักษะ หมายถึง แบบฝกทักษะวิทยาศาสตรโดยเนนการใชสมองเปนฐานการเรียนรู
(Brain - Based Learning) สําหรับเด็กปฐมวัยที่ออกแบบโดย ดร.กุลยา ตันติผลาชีวะจํานวน 4 เรื่อง คือ การสังเกต พืช สัตวและโลกของเรา

กรอบแนวคิดในการวิจัย

สมมติฐานในการวิจัย

เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชดแบบฝ ุ กท ักษะ มีการพฒนา ั
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรกอนและหลังการทดลองแตกตางกัน
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร

1. การสังเกต
2. การจําแนกประเภท
3. การสื่อสาร
4. การลงความเห็น

กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกทักษะ

ขั้นนํา
ขั้นสอน แบงออกเปน 2 ตอน
ตอนที่ 1 จัดกิจกรรมการเรียนรู
ตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝกทักษะ
วิทยาศาสตร

ขั้นสรุ

ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน (Basic Science Process Skills) มี8 ทักษะ ดังนี้

 1. ทักษะการสังเกต (Observation) หมายถึง ความสามารถในการใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันเขาไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถูหรือเหตการณ์โดยมีจุดประสงค์เพื่อหารายละเอียดของสิ่งนั้นๆ
  2. ทักษะการวัด (Measurement) หมายถึง ความสามารถในการใชเครื่องมือวัดหาปริมาณของสิ่งตางๆ
ไดอยางถูกตองโดยมีหนวยกํากับและรวมไปถึงการใชเครื่องมืออยางถูกตอง
  3. ทักษะการคํานวณ (Using numbers) หมายถึง ความสามารถในการบวก ลบคูณหาร ตัวเลขที่แสดงคาปริมาณของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งไดจากการสังเกต การวัดหรือการทดลอง
  4. ทักษะการจําแนกประเภท (Classification) หมายถึง ความสามารถในการจัด
จําแนกหรือเรียงลําดับวัตถุหรือสิ่งที่อยูในปรากฏตางๆ ออกเปนหมวดหมูโดยมีเกณฑที่ใช้ใน
การพิจารณา 3 ประการ คือ ความเหมือน ความแตกตางและความสมพันธ์
  5. ทักษะความสัมพันธระหวางมิติของวัตถุกับเวลา (Space / Space Relation -
ship and space / time relationship) หมายถึง ความสามารถในระบุความสัมพันธระหวางสิ่ง
ตอไปนี้ความสัมพันธระหวาง 2 มิติกับ 3 มิติสิ่งที่อยูหนากระจกเงากับภาพในกระจกเปนซาย
ขวาของกันและกันอยางไร ตําแหนงที่อยูของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงตําแหนง
ที่อยูของวัตถุบเวลาหรือมิติของวัตถุเปลี่ยนแปลงไปกับเวลา มิติ (Space)  ของวัตถุหมายถึง
ที่วางบริเวณที่วัตถุนั้นครอบครองอยูซึ่งมีรูปรางและลักษณะเช่นเดียวกับบวัตถุนั้น โดยทั่วไปแลว
มิติของวัตถุจะมี 3 มิติ (Dimensions) ไดแก ความกวาง ความยาว ความหนาหรือความสูงของ
วัตถุ
  6. ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organization data and
communication) หมายถึงความสามารถในการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัด การทดลอง
และจากแหลงอื่นๆ มาจัดใหม โดยวิธีการตางๆ เชน การจัดเรียงลําดับ การจัดแยกประเภท
เพื่อใหผูอื่นเขาใจความหมายของขอมูลชุดนั้นๆ ดีขึ้น โดยการนําเสนอในรูปตาราง แผนภูมิ
แผนภาพ กราฟ
  7. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถึง ความสามารถในการนําเสนอ
อธิบายขอมูลที่มีอยูซึ่งไดมาจากการสังเกต การวัด การทดลอง โดยเชื่อมโยงกับความรูเดิมหรือ
ประสบการณเดิม เพื่อสรุปความเห็นเกี่ยวกับขอมูลนั้นๆ
  8. ทักษะการพยากรณ (Prediction) หมายถึง ความสามารถทํานายหรือคาดคะเน
สิ่งที่จะเกิดขึ้นลวงหนา โดยอาศัยการสังเกตปรากฏการณซ้ำๆ และนําความรูที่เปนหลักการ
กฎหรือทฤษฎีในเรื่องนั้นๆ มาชวยในการทํานาย การทํานายทําไดภายในขอบเขตของขอมูล
(Interpolating) และภายนอกขอบเขตขอมูล (Extrapolating)



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น